welcome

ยินดีต้อนรับ เว็บสื่อการเรียนการสอนคุณครูวิวัฒน์ หลักทองคำ ขอบคุณที่มาเยี่ยมชม

วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 7

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 7 แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 7
1. ก่อนปฐมพยาบาลควรปฏิบัติอย่างไร

2. เมื่อผิวหนังพุพอง ควรปฐมพยาบาลอย่างไร

3. สิ่งแปลกปลอมชนิดใดที่เข้าตามากที่สุด

4. อาการของผู้ถูกน้ำร้อนลวก คือข้อใด

5. เมื่อพบผู้ป่วยเป็นลม หมดสติ จะมีวิธีการปฐมพยาบาลอย่างไร

6. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยผู้ช่วยเหลือคนเดียว เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร

7. การกอดคอขี่หลัง เป็นวิธีการเคลื่อนย้ายแบบใด

8. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยให้สัญญาณยืนขึ้นพร้อมๆ กัน แล้วทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย จัดเป็นแบบใด

9. วัสดุใดใช้ทำเป็นเปลหามไม่ได้

10. อาการของผู้ป่วยที่กระดูกหัก ข้อเคลื่อน คือข้อใด

ผลคะแนน =

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 6

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 6 แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 6
1. วิธีการควบคุมน้ำหนักที่ได้ผลมาก คือข้อใด

2. การรับประทานอาหารอย่างถูกต้องเหมาะสมมีคุณค่าต่อการเสริมสร้างพลังงาน คืออาหารมื้อใด

3. การดูแลสุขภาพของตนเองที่ดีที่สุด คือข้อใด

4. ทำไมเราจึงจัดอาหารมื้อเช้าเป็นอาหารที่มีความสำคัญต่อร่างกาย

5. การรับประทานอาหารประเภทใด ที่ทำให้ระบบการย่อยดี

6. การดูแลสุขภาพของตนเองที่ดีที่สุดขึ้นอยู่กับปัจจัยอะไร

7. หากต้องการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของร่างกาย ควรทดสอบในข้อใด

8. การทดสอบด้วยการดันพื้น เป็นการทดสอบสมรรถภาพด้านใด

9. การทดสอบในข้อใด จัดเป็นการทดสอบความเร็วทุกรายการ

10. การทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยตนเอง ข้อใดปฏิบัติไม่เหมาะสม

ผลคะแนน =

วันอังคารที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.3 หน่วยที่ 4

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.3 หน่วยที่ 4 แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน วิชาสุขศึกษา ม.3 หน่วยที่ 4
1. พฤติกรรมในข้อใดที่ไม่ถือว่าเป็นการดูแลสุขภาพทางโภชนาการ

2. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความต้องการปริมาณอาหารและพลังงานของบุคคลแต่ละวัย

3. 3. อาหารในข้อใดต่อไปนี้ที่ให้พลังงานมากที่สุด

4. 4. เนื้อสัตว์ในข้อใดที่มีไขมันต่ำที่สุด

5. 5. บุคคลใดปฏิบัติตามหลักการเลือกซื้ออาหารแบบประหยัด

6. 6. ข้อใดเป็นการเตรียมอาหารก่อนปรุงที่ไม่ถูกต้อง

7. 7. ข้อใดไม่ใช่สุขบัญญัติ 10 ประการของกระทรวงสาธารณสุข

8. 8. พฤติกรรมในข้อใดที่ไม่เป็นการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง

9. 9. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในข้อใดไม่ได้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

10. 10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับไข้หวัดนก

11. 11. พฤติกรรมในข้อใดที่เป็นปัจจัยส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เกิดมะเร็งได้ง่าย

12. 12. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ

13. 13. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความดันโลหิต

14. 14. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

15. 15. การออกกำลังกายต้องคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด

16. 16. การกระทำข้อใดที่จะช่วยให้นอนหลับสนิท

17. 17. ข้อใดไม่ใช่กิจกรรมนันทนาการ

18. 18. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย

19. 19. กิจกรรมในข้อใดที่ไม่เหมาะจะใช้สำหรับอบอุ่นร่างกาย

20. 20. ข้อใดไม่ใช่รายการในแบบทดสอบสมรรถภาพเยาวชนของ AAHPER

ผลคะแนน =

วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนวิชาสุขศึกษา ม.2 หน่วยที่ 5

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนวิชาสุขศึกษา ม.2 หน่วยที่ 5
1. ข้อใดอธิบายความหมายของคำว่า “สมรรถภาพทางกาย” ได้ถูกต้องที่สุด

2. เพราะเหตุใด วัยรุ่นจึงควรออกกำลังกายเป็นประจำ

3. ใครเป็นผู้มีสุขภาพดี

4. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย

5. การดึงข้อ และการงอแขน เป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกายในด้านใด

6. ข้อใดไม่ใช่การทดสอบความสมดุลหรือการทรงตัวของร่างกาย

7. การสำรวจตนเองเพื่อการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย มีกี่ด้าน อะไรบ้าง

8. ใครเลือกเทคนิควิธีการปรับปรุงและพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม

9. การวางแผนปรับปรุงและพัฒนาตนเองควรคำนึงถึงสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด

10. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย

ผลคะแนน =

แบทดสอบก่อน-หลังเรียนวิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 5

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบทดสอบก่อน-หลังเรียนวิชาสุขศึกษา ม.1 หน่วยที่ 5
1. อาหารข้อใดให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต

2. สารอาหารประเภทโปรตีนให้ประโยชน์อย่างไร

3. วิตามินใดช่วยให้แผลหายเร็ว

4. แคลเซียมมีประโยชน์อย่างไร

5. หากร่างกายต้องการสารอาหารประเภทไอโอดีน ควรรับประทานอาหารประเภทใด

6. โซเดียมเป็นสารอาหารที่พบได้ในอาหารประเภทใด

7. ในช่วงวัยรุ่นร่างกายต้องการสารอาหารประเภทใดมากที่สุด

8. โรคใดที่เกิดจากภาวะโภชนาการเกิน

9. อาหารขั้นที่ 4 มีหลักในการรับประทานอย่างไร

10. อาหารประเภทใดที่ย่อยง่ายและมีคุณค่าทางอาหารมากที่สุด

ผลคะแนน =

วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ประวัติวอลเลย์บอล

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ประวัติวอลเลย์บอล แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ประวัติวอลเลย์บอล
1. ผู้คิดค้นกีฬาวอลเลย์บอลคือใคร

2. กีฬาวอลเลย์บอลกำเนิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศใด

3. กีฬาวอลเลย์บอลเกิดขึ้นในครั้งแรกตั้งชื่อว่าอะไร

4. การเล่นวอลเลย์บอลครั้งแรกได้รวบรวมการเล่นของเกมกีฬาอะไรเข้าด้วยกัน

5. จุดมุ่งหมายที่สำคัญ ที่มอร์แกนวางไว้คืออะไร

6. ลูกวอลเลย์บอลแต่เดิมที่มอร์แกนคิดขึ้นใช้ลูกอะไร

7. ผู้ที่ได้รับชื่อว่า เป็นบิดาแห่งวอลเลย์บอลคือใคร

8. ประเทศแรกที่เล่นกีฬาวอลเลย์บอลในทวีปเอเชียคือประเทศใด

9. กีฬาวอลเลย์บอลเข้ามาในประเทศไทยตอนเริ่มแรกนิยมเล่นข้างละกี่คน

10. สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทยตั้งขึ้นเมื่อวัน เดือน ปีพ.ศใด

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

วันอาทิตย์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ฮอร์โมนสำคัญในร่างกาย


กีฬาวอลเลย์บอล

กีฬาวอลเลย์บอล
.๒.๑  ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลนอกประเทศ
          กีฬาวอลเลย์บอลเริ่มขึ้นเมื่อปี ค.. ๑๘๙๕ โดยนายวิลเลียม จี มอร์แกน (William G. Morgan)
ผู้อำนวยการฝ่ายพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. (Young Men’s Christian Association)
เมืองฮอลโยค (Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้คิดเกมการเล่นขึ้น  เนื่องจากในฤดูหนาวหิมะตกลงมา ผู้คนทั่วไปไม่สามารถเล่นกีฬากลางแจ้งได้ เขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อใช้เป็นกิจกรรมที่พักผ่อนหย่อนใจ คลายความตึงเครียด เขาได้นำลักษณะและวิธีการเล่นของกีฬาเทนนิสมาดัดแปลงใช้เล่น จึงใช้ตาข่ายเทนนิสขึงระหว่างเสาโรงยิมเนเซียม สูงจากพื้นประมาณ ๖ ฟุต ๖ นิ้ว และใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลสูบลมให้แน่น แล้วใช้มือและแขนตีโต้ข้ามตาข่ายกันไปมา แต่เนื่องจากยางในของลูกบาสเกตบอลเบาเกินไป ทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่ช้าและทิศทางที่เคลื่อนไปไม่แน่นอน จึงเปลี่ยนมาใช้ลูกบาสเกตบอล แต่ลูกบาสเกตบอลใหญ่ หนักและแข็งเกินไปทำให้มือของผู้เล่นได้รับบาดเจ็บ ในที่สุดเขาจึงให้บริษัท A.G. Spalding and Brother Company ผลิตลูกบอลที่หุ้มด้วยหนัง และบุด้วยยางมีเส้นรอบวง ๒๕๒๗ นิ้ว มีน้ำหนัก ๘๑๒ ออนซ์  หลังจากทดลองเล่นแล้ว  เขาจึงตั้งชื่อเกมการเล่นนี้ว่า มินโตเนต” (Mintonette)
          ปี ค..๑๘๙๖ มีการประชุมสัมมนาผู้นำทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ (Spring-field College) นายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้สาธิตวิธีการเล่นต่อหน้าที่ประชุมซึ่งศาสตราจารย์ อัลเฟรด- ที เฮลสเตด (Alfred T. Helstead)  ได้เสนอแนะให้มอร์แกนเปลี่ยนจากมินโตเนต (Mintonette) เป็น วอลเลย์บอล” (Volleyball) โดยให้ความเห็นว่าเป็นวิธีการเล่นโต้ลูกบอลให้ลอยข้ามตาข่ายไปมาในอากาศ โดยผู้เล่นพยายามไม่ให้ลูกบอลตกพื้น
          ปี ค.ศ ๑๙๒๘ ดอกเตอร์ จอร์จ เจ ฟิเชอร์   ( Dr.George J.Fisher )   ได้ปรับปรุง  และเปลี่ยนแปลงกติกาการเล่นวอลเลย์บอล เพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในระดับชาติ ซึ่งบุคคลผู้นี้เป็นผู้มีบทบาทอย่างมากในการเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลจนได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งกีฬาวอลเลย์บอล

 .๒.๒  ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศ
          กีฬาวอลเลย์บอลได้แพร่เข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อใด ไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าชาวไทยบางกลุ่มได้เริ่มเล่น และแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลมาตั้งแต่หลังสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ เป็นต้นมา
          ปี พ..๒๔๗๗ กรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปี และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิง เข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก โดยใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน  และตั้งแต่นั้น กีฬาวอลเลย์บอลได้รับเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก โดยใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน และตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา กีฬาวอลเลย์บอลก็พัฒนาขึ้นโดยตลอด และปัจจุบันใช้กติกาการเล่นระบบ ๖ คน
          วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ ได้มีการจัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทยขึ้น (Amature Volleyball Association of Thailand)
          ปัจจุบันกีฬาวอลเลย์บอลได้นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และตามหน่วยงานต่าง    ทั้งภาครัฐ และเอกชน

.๒.๓  ประโยชน์ของการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล
          วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ทำให้ผู้เล่นเกิดประโยชน์ดังนี้
          ๑) วอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภททีม  ช่วยสร้างให้เกิดความสามัคคีระหว่างหมู่คณะ และรักใคร่ปรองดองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
          ๒)  วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่เล่นได้โดยไม่จำกัดเวลา ถ้าหากผู้เล่นรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งอาจจะเล่นตอนเช้า สาย บ่าย เย็นหรือแม้แต่ในเวลากลางคืนก็ได้ถ้ามีแสงสว่างเพียงพอ และเล่นได้ทั้งในที่ร่มหรือกลางแจ้ง
          ๓)  วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของผู้เล่นอย่างหนึ่ง  เพราะผู้เล่นจะต้องถูกฝึกให้มีระเบียบ มีวินัย  มีเหตุมีผล รู้จักการเป็นผู้นำผู้ตาม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นการปลูกฝังนิสัยอันมีผลที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันด้วย
          ๔)  วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่มีกฎกติกา ผู้เล่นต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎกติกาการเล่น ดังนั้นการเล่นวอลเลย์บอลย่อมช่วยสอนให้ผู้เล่นรู้จักความยุติธรรม มีความอดทน อดกลั้น รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น
          ๕)  วอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภทหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางด้านร่างกายให้มีความสมบูรณ์ แข็งแรง  เมื่อร่างกายได้ออกกำลังกายแล้วยังช่วยให้ระบบต่างๆ  ภายในร่างกายได้ทำงานประสานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมื่อร่างกายแข็งแรงก็จะช่วยเพิ่มความสามารถของร่างกายให้มีความต้านทานได้ดีด้วย
          ๖)  กีฬาวอลเลย์บอลเหมือนกับกีฬาประเภทอื่น ๆ ที่สร้างความมีน้ำใจนักกีฬา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การรู้จักแพ้ ชนะและอภัย นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือในการเป็นสื่อกลางก่อให้เกิดความสนิทสนมคุ้นเคยและมีสัมพันธ์ไมตรีอันดีต่อกัน

.๒.๔  มารยาทของผู้เล่นกีฬาวอลเลย์บอลที่ดี
            ๑)  แต่งกายด้วยชุดที่เหมาะสมกับการเล่นวอลเลย์บอล ในการแข่งขันนั้นผู้เล่นต้องแต่งกายตามกติกา แต่ในการเล่นทั่วไปเพื่อความสนุกสนานหรือเพื่อออกกำลังกายควรจะแต่งกายให้เหมาะสม บางคนสวมรองเท้าแตะหรือแต่งชุดไปเที่ยวลงเล่น เป็นต้น  ซึ่งอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บระหว่างการเล่นได้
             ๒)  ไม่แสดงกิริยาเสียดสีล้อเลียน หรือกล่าวถ้อยคำที่ไม่สุภาพต่อผู้เล่นฝ่ายเดียวกันหรือฝ่ายตรงข้าม หรือผู้ชม
             ๓) มีความสุภาพเรียบร้อย แสดงความเป็นมิตรและให้เกียรติแก่ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามก่อนและหลังการแข่งขันเสร็จสิ้นลงควรจับมือผู้เล่นของทีมตรงข้ามไม่ว่าทีมจะแพ้หรือชนะก็ตาม
              ๔)  ไม่โต้เถียงหรือแสดงกิริยาอาการที่ไม่เหมาะสมแก่ผู้ตัดสินในการตัดสิน และปฏิบัติตามระเบียบกติกาการเล่นอย่างเคร่งครัด
              ๕)  มีใจคอหนักแน่น อดทน อดกลั้น และสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ ถึงแม้ว่าผู้เล่นฝ่ายเดียวกันผิดพลาดก็ไม่ควรแสดงอาการไม่พอใจ

 .๒.๕  มารยาทของผู้ชมกีฬาวอลเลย์บอลที่ดี
               ๑)  แสดงความยินดีด้วยการปรบมือให้แก่ผู้เล่นที่เล่นดี และไม่กล่าวถ้อยคำหรือ  
แสดงกิริยาเยาะเย้ยถากถางผู้เล่นที่เล่นผิดพลาด

               ๒)  ไม่เชียร์ในสิ่งที่เป็นการเสียดสีในทางไม่ดีต่อทีมใดทีมหนึ่ง
               ๓)  ไม่กระทำตัวเป็นผู้ตัดสินเสียเอง เช่น การตะโกนด่าว่าผู้ตัดสิน เป็นต้น
               ๔)  ไม่กระทำสิ่งใด ๆ ที่ทำให้ผู้ตัดสินหรือเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ปฏิบัติงานไม่สะดวก

วันเสาร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบ Microsoft Power Point

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบบทดสอบ Microsoft Power Point
1. Microsoft PowerPoint 2010 เป็นโปรแกรมประเภทใด

2. ข้อใดเรียงลำดับการเข้าสู่โปรแกรมได้ถูกต้อง

3. คำสั่งการนำเสนอภาพนิ่ง สามารถใช้ปุ่มใดต่อไปนี้

4. ไฟล์นามสกุลของงานนำเสนอที่สร้างจากโปรแกรม PowerPoint คือข้อใด

5. พื้นที่การทำงานของ PowerPoint เรียกว่าอะไร

6. ต้องการสร้างพื้นหลังให้สไลด์ไปที่เมนูใด

7. ปุ่มคีย์ลัด Ctrl+V คือข้อใด

8. ปุ่มคีย์ลัด Ctrl+O คือข้อใด

9. ปุ่มคีย์ลัด Ctrl+X คือข้อใด

10. แถบเมนูในโปรแกรม Microsoft Power Point 2010 มีกี่เมนู

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

แบบทดสอบ Microsoft Excel

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบบทดสอบ การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel 2010
1. ข้อใดคือลักษณะการใช้งานของโปรแกรม Microsoft Excel ได้ถูกต้อง

2. ลำดับขั้นตอนการเข้าโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ? 1.All Programs 2.Microsoft Excwl 2010 3.Start 4.Microsoft Office

3. Title bar เป็นแถบใดใน Microsoft Excel

4. แต่ละช่องตารางใน Microsoft Excel เรียกว่าอะไร

5. ฟังก์ชั่น Sum หมายถึงข้อใด

6. ฟังก์ชั่น AVERAGE หมายถึงข้อใด

7. ฟังก์ชั่น MAX หมายถึงข้อใด

8. ฟังก์ชั่นใดใช้ในการหาข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุด

9. ฟังก์ชั้นใดใช้ในการหาข้อมูลที่เรามีอยู่ในลำดับที่เท่าใด

10. คอลัมน์ หมายถึง ข้อใด

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบ Microsoft word

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบบทดสอบคุณครูวิวัฒน์ หลักทองคำ
1. โปรแกรม Microsoft Word ใช้ทำอะไร

2. ลำดับขั้นตอนการเข้าโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ? 1.All Programs 2.Microsoft Word 2010 3.Start 4.Microsoft Office

3. "Save" เป็นคำสั่งใช้ทำอะไร

4. Ctrl+ B คือคีลัดในข้อใด

5. Ctrl+ U คือคีลัดในข้อใด

6. โดยปกติตัวอักษรที่ใช้พิมพ์งานจะมีขนาดเท่าใด

7. นักเรียนมีวิธีการอย่างไรในการบันทึกงาน

8. นักเรียนต้องการแทรกรูปภาพไปที่เมนูใด

9. Ctrl+ E คือคีลัดในข้อใด

10. Ctrl+ L คือคีลัดในข้อใด

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556

แบบทดสอบ

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบบทดสอบครูวิวัฒน์ หลักทองคำ
1. คอมพิวเตอร์มีบทบาทกับการศึกษาอย่างไร

2. หน่วยใดมีลักษณะการทำงานคล้ายกับสมองของมนุษย์

3. ข้อใด เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเบื้องต้น

4. หน่วยความจำในข้อใด มีความจุมากที่สุด

5. ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน เรียกว่าอะไร

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

โปรแกรมประมวลผลคำ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Word 2010
โปรแกรม Microsoft Word 2010 มีรูปร่างหน้าตา และส่วนประกอบของโปรแกรมที่เหมือน และแตกต่างจาก Microsoft Word 2007 ดังภาพด้านล่างนี้


1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) = เป็นส่วนที่ใช้แสดงชื่อโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่ได้เปิดขึ้นมา
2. แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) = เป็นส่วนที่ใช้แสดงคาสั่งที่ใช้งานบ่อย
3. ปุ่ม File (แฟ้ม) = เป็นส่วนที่ทาหน้าที่คล้ายกับปุ่ม Office ใน Microsoft Office 2007 คือ จัดเก็บคาสั่งที่ใช้ในการทางานเอกสาร เช่น New Open Save และ Print เป็นต้น
4. ปุ่มควบคุม = เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการเปิด หรือปิดหน้าต่างโปรแกรม
5. ริบบอน (Ribbon) = เป็นส่วนที่ใช้แสดงรายการคาสั่งต่าง ๆ ที่ใช้ในการทางานกับเอกสาร
6. พื้นที่การทางาน = เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ขึ้นภายในเอกสาร
7. แถบสถานะ (Status Bar) = เป็นส่วนที่ใช้แสดงจานวนหน้ากระดาษ และจานานตัวอักษรที่ใช้ในเอกสาร

การสร้างเอกสารใหม่ ใน Microsoft Word 2010
วิธีที่ 1 การสร้างเอกสารเปล่า
1. คลิกปุ่ม แฟ้ม (File) > สร้าง (New) > เอกสารเปล่า (Blank document)
2. คลิกปุ่ม สร้าง (Create)
3. หลังจากนั้นเอกสารใหม่ก็จะถูกสร้างขึ้นมา
วิธีที่ 2 การสร้างเอกสารจากแม่แบบ เป็นการสร้างเอกสารจากแม่แบบสำเร็จรูปที่มีอยู่ในโปรแกรม ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม แฟ้ม (File) > สร้าง (New) > ตัวอย่างแม่แบบ (Sample templates)
2. เลือกแม่แบบที่เราต้องการ 3. คลิกปุ่ม สร้าง (Create)

การตั้งค่าหน้ากระดาษแนวตั้ง และแนวนอน ใน Word 2010
การจัดวางหน้ากระดาษของเอกสาร สามารถทาได้ทั้งแนวตั้ง และแนวนอน ซึ่งมีวิธีการตั้งค่าหน้ากระดาษ ดังนี้
1. คลิกแท็บ เค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout)
2. คลิกเลือก การวางแนว (Orientation) แล้วเลือกแนวการจัดวางหน้ากระดาษตามที่เราต้องการ
 


การบันทึกเอกสารแบบสำเนา
1. คลิกปุ่ม แฟ้ม (File) > บันทึกเป็น (Save As)
2. เลือกสถานที่จัดเก็บไฟล์เอกสาร
3. กำหนดชื่อไฟล์เอกสาร
4. คลิกปุ่ม บันทึก (Save)

การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
1. คลิกเมาส์คลุมดำข้อความ
2. คลิกแท็บ หน้าแรก (Home)
3. ไปที่ แบบอักษร เลือกรูปแบบตัวอักษรที่ต้องการ
4. เมื่อพิมพ์ข้อความขึ้นมา รูปแบบตัวอักษรก็จะปรากฏเป็นไปตามกำหนด
การปรับขนาดตัวอักษร
1. คลิกคลุมดำข้อความที่ต้องการปรับขนาดตัวอักษร
2. คลิกแท็บ หน้าแรก (Home) ไปที่ขนาดตัวอักษร
3. กดที่ลูกศรลงมา แล้วเลือกขนาดตามต้องการ

การปรับเปลี่ยนสีตัวอักษร
1. คลิกคลุมดำข้อความที่ต้องการกำหนดสีตัวอักษร
2. คลิกแท็บ หน้าแรก (Home)
3. คลิกปุ่มอักษรสี A แล้วเลือกสีของตัวอักษรที่ต้องการ


การจัดตำแหน่งข้อความ ใน Word 2010
1. เลือกข้อความที่ต้องการ
2. คลิกปุ่ม กึ่งกลาง (Center) หรือกดคีย์ลัด Ctrl+E บนคีย์บอร์ดก็ได้
3.หรือ คลิกปุ่ม จัดแนวข้อความชิดซ้าย (Align Text Left) หรือกดคีย์ลัด Ctrl+L บนคีย์บอร์ดก็ได้
4.หรือ คลิกปุ่ม จัดแนวข้อความชิดขวา (Align Text Right) หรือกดคีย์ลัด Ctrl+R บนคีย์บอร์ดก็ได้
5.หรือ คลิกปุ่ม เต็มแนว (Justify) หรือกดคีย์ลัด Ctrl+J บนคีย์บอร์ดก็ได้
6.หรือ คลิกปุ่ม กระจาย (Distributed)

วันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 1

บทที่ 1 ความหมาย ขอบเขต และความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ความหมาย บทบาทและความสำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คืออะไร
              ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของมันเอง คือ เครื่องคำนวณ ในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคำสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนำข้อมูลและคำสั่งนั้น ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์บันทึกข้อมูลสำรอง
              คอมพิวเตอร์จึงสามารถมีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือพบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง

 


 
 เหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
             1. สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่านเวลาเข้า-ออก ของพนักงาน และคิดราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า
             2. สามารถเก็บข้อมูลจำนวนมากๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที
             3. สามารถนำข้อมูลที่เก็บไว้มาคำนวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทำรายงานลักษณะต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
             4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
             5. สามารถจัดทำเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคำ (Word Processing) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
             6. การนำมาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย
             7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนำคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานบัญชี งานบริหารสำนักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ
             8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้ำของเขื่อน
             9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้ำ เพื่อการเกษตร
           10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจำลองรูปแบบ เช่น การจำลองในงานวิทยาศาสตร์ จำลองโมเลกุล จำลองรูปแบบการฝึกขับเครื่องบิน
           11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง
           12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้ำสมัยอี่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

              



ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร์
              1. งานที่ต้องจัดเก็บข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงานทะเบียนราษฏฐ์ เป็นต้น
             2. งานที่ต้องอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความแม่นยำและถูกต้องที่สุด เช่นงานด้านวิทยาศาสตร์
             3. งานที่ไม่ต้องการหยุดพัก คือทำงานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่
             4. งานที่คนไม่สามารถเข้าไปทำได้ เช่นในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ที่มีก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม
            ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501)  
               คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนมาก ทำให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I , IBM 600
 
เครื่องคอมพิวเตอร์ Mark1       เครื่องคอมพิวเตอร์ ENIAC
 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507) 
             คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor)
 

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513)   
               คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit)  เป็นสารกึ่งตัวนำที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า "ชิป" 
 
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523)   
                เทคโนโลยีใหม่นี้ทำให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สำคัญสำหรับการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโปรเชสเซอร์"

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน) 
                 คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


บทที่ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
 1. ส่วนประกอบภายนอกและการใช้งาน
จอภาพ (Monitor)   เคส (Case)          คีย์บอร์ด (Keyboard)  
เมาส์ (Mouse)        ลำโพง(Speaker)   เครื่องสำรองไฟ (UPS)
 2. ส่วนประกอบภายในและการทำงาน
หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit ; CPU)  
หน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูลและคำสั่ง (Data & Programming Memory)  
เมนบอร์ด   (Mainboard)            ฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ (Hard Disk )
ซีดีรอมไดร์ฟ  (CD-ROM Drive)     ฟล๊อปปี้ดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive )
ช่องขยาย (Slot)                        แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)
3. อุปกรณ์ต่อพ่วง
เครื่องพิมพ์ชนิดต่าง ๆ  (Printer) เครื่องสแกนภาพ  (Scanner) โมเด็ม (Modem)

 
 
 

 
บทที่ 3 การพัฒนาคอมพิวเตอร์ในองค์กร

ภายในองค์กรมีสิ่งที่จะต้องพิจารณา และจัดเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการใช้ไอทีหลายอย่าง แต่ละอย่างมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน การพัฒนาต้องพัฒนาไปทั้ง "ห้าองค์ประกอบ" นี้ ซึ่งได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ข่าวสาร คน และระเบียบวิธีปฏิบัติ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
               ฮาร์ดแวร์ เป็นเครื่องมือที่จะเข้ามาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในการทำงาน การวางรากฐานการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ ใช้ระบบการประมวลผลที่ทำให้ทำงานได้รวดเร็วแม่นยำ มีระบบการเชื่อมโยงสื่อสาร เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางไปถึง และประสานการทำงานเป็นระบบได้ ฮาร์ดแวร์จึงรวมไปถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ
 
2. ซอฟต์แวร์  (Software)
 ความสำคัญของซอฟต์แวร์
               ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้
              โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้โปรแกรมประเภทต่าง ๆ
3. ข้อมูลข่าวสาร (Content)
               คือเนื้อหาสาระที่สำคัญ การดำเนินการขององค์กรเกี่ยวข้องกับการผลิต การประมวลผล การสรุปผล การทำรายงาน การดำเนินการสื่อสารระหว่างกัน การกระทำเหล่านี้เกิดขึ้นกับเนื้อหาของข้อมูลข่าวสาร ดังนั้น ในองค์กรต้องให้ความสำคัญในเรื่องข้อมูลข่าวสาร ทำอย่างไรจึงจะให้ข้อมูลข่าวสารเข้าไปโลดแล่นอยู่ในระบบและใช้งานได้อย่างเต็มที่
 4. บุคลากร (Peopleware)
 ความสำคัญของบุคลากร
              บุคคลกร คือบุคคลที่สำคัญ และเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และหากต้องให้งานมีประสิทธิผลมากที่สุด  จำเป็นต้องพัฒนาบุคลากร มีการฝึกอบรมหรือดำเนินการให้บุคลากรหันมาให้ความสำคัญ และเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กร ความสามารถของบุคลากรจึงเป็นฐานสำคัญในการใช้ไอทีเพื่อประโยชน์ต่อองค์กรโดยรวม
 ประเภทของบุคลากรในงานคอมพิวเตอร์
ระดับผู้บริหาร(Administration)  ได้แก่ Electronic Data Processing manager
 :EDP ระดับวิชาการ (Technical)
  ได้แก่  System Analyst and Designer, Programmer ระดับปฏิบัติการ (Operation)  ได้แก่ Computer Operator, Keypunch Operator, Data Entry
5. ระเบียบวิธีการปฏิบัติ (Procedure)
              บางอย่างอาจเปลี่ยนแปลงไป จำเป็นต้องมีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับการใช้เทคโนโลยีสอดคล้องกับวิถีการทำงานแนวใหม่ กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นระบบ หรืออาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถีการทำงานบางอย่างขององค์กร บางองค์กรจึงมีการปรับเปลี่ยนขั้นรุนแรงถึงขั้นรือปรับระบบ (Re-en-gineering) เพื่อให้สอดคล้องกับวิถีการทำงานแนวใหม่ที่มีไอทีเข้ามาสนับสนุน
               พัฒนาการทั้ง "ห้าองค์ประกอบ" นี้ต้องไปด้วยกัน จะเลือกองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งไม่ได้ หากองค์ประกอบหนึ่งองค์ประกอบใดไม่ได้รับการพัฒนา ย่อมทำให้ระบบโดยรวมขององค์กรมีปัญหา เช่น มีการซื้อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสารข้อมูลที่ทันสมัย มีซอฟต์แวร์ที่ทำงานได้เป็นเลิศ แต่ ขาดการดำเนินการกับข้อมูลข่าวสารที่ดี หรือเกือบจะไม่มีข้อมูลข่าวสารใด การลงทุนนั้นก็ดูจะสูญเปล่า
บทที่ 4 ปฏิบัติการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์
1. การเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
การต่อระบบไฟและสายเมาส์-คีย์บอร์ด  
การต่อสายสัญญาณ
วีจีเอ พอร์ต (VGA Port)  
พอร์ตอนุกรม (Serial Port)  
พอร์ตขนาน (Pararell Port)  
พอร์ตยูเอสบี (USB Port)  
พอร์ตมัลติมีเดีย (Multimedia Port)
2. การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อพ่วง
การต่อเครื่องพิมพ์  
การติดตั้งใช้งานโมเด็ม
โมเด็มแบบภายใน(Internal)  
โมเด็มแบบภายนอก(External)